วันอาทิตย์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2559


การบันทึกครั้งที่ 17 
วันพุธ ที่ 30 พฤศจิกายน 2559
เวลาเรียน  09.30-12.00 น.

เนื้อหา
  วันนี้เป็นวันสุดคาบสุดท้ายของการเรียนการสอนในรายวิชานี้แล้ว  อาจารย์นัดพูดเกี่ยวกับการส่งโครงการส่องบลอ็กและบอกแนวข้อสอบ




ประเมินตนเอง
  วันนี้ไม่ค่อยได้ฟังอาจ่รย์สักเท่ารัยเพราะมั้วแต่ห่วงแฟ้มผลงานที่จะส่งวันเดียวกัน

ประเมินเพื่อน
เพื่อนก็ฟังบ้างไม่ฟังบ้างบางคนก็คุยกันสเสียงกัน

ประเมินอาจารย์
 อาจารย์ยังคงคอยให้คำปรึกษาเมื่อโครงการก็ส่งว่าต้องแก้ตรงไหนก็ส่งให้ดีที่สุด



การบันทึกครั้งที่ 16 
วันจันทร์ ที่ 21 พฤศจิกายน 2559
เวลาเรียน  08.30-11.30น.

ไม่มีการเรียนการสอน
เนื่องจากอาจารย์ให้ไปทำโครงการ




การบันทึกครั้งที่ 15 
วันจันทร์ ที่ 14 พฤศจิกายน 2559
เวลาเรียน  08.30-11.30น.

ไม่ได้มาเรียนเนื่องจากไม่สบาย




การบันทึกครั้งที่ 14 
วันจันทร์ ที่ 7 พฤศจิกายน 2559
เวลาเรียน  08.30-11.30น.
เนื้อหา
อาจารย์ให้นักศึกษานำโครงการที่ทำมาให้อาจารย์ตรวจเช็คดูและอาจารย์จะบอกว่าตรงไหนต้องแก้บ้างตรงไหนดีแล้ว

-กลุ่มดิฉันนำโครงการไปให้อาจารย์ตรวจว่าตรงไหนถูกตรงไหนต้องแก้บ้างแล้วก็นำไปปรับปรุง

-กิจกรรมที่นำไปเสนออาจารย์มรประมาณ 8 กิจกรรมแต่อาจารย์ได้เลือกกิจกรรมที่ดีที่สุดไว้เพียง3กิจกรรมคือ 
นิทาน pop up
จานกระดาษใบหน้า

แกนกระดาษหมุนชิดชู่เปลี่ยนอารมณ์

ปรึกษาอาจารย์เรื่องโครงการ ลูกน้อยอารมณ์ดี




ปรึกษากันภายในกลุ่มและแบ่งหน้าที่กัน





ประเมินตนเอง
ในวันนี้ดิฉันทำหน้าที่ที่ได้รับมอมหมายก็พอสมควรตั้งใจฟังอาจารย์แล้วนำมาปรังปรุงได้

ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆ สนใจทำโคครงการกันมากทั้งตั้งใจฟังและก็

ประเมินอาจารย์
อาจารย์ตรวจโครงการละเอียดมากและให้คำปรึกษาดีมากในการทำโครงการ


การบันทึกครั้งที่ 13 
วันจันทร์ ที่ 31 ตุลาคม 2559
เวลาเรียน  08.30-11.30น.
เนื้อหา
   ในสัปดาห์นนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาแต่ล่ะกลุ่มเอาใบสอบถามผู้ปกครองมาพูดถึงอุปสรรคในการสอบถามผู้ปกครองและสรุปว่าจะทำโครงการอะไร







ต่อมาอาจารย์ให้สรุปตะแนนจากแบบระเมินที่ไปสำรวจมาว่าจะทำโครงการเรื่องอะไรและด้านใดบ้าง






ประเมินตนเอง
ตอนแรก งง กับการสรุปคะแนนแต่พอได้ทำก็เข้าใจ

ประเมินเพื่อน
เพื่อนช่วยกันทำงานดีมาก
ประเมินอาจารย์
อาจารย์ให้คำปรึกษาดีมากในการเรียนแต่ละคาบ

การบันทึกครั้งที่ 12 
วันจันทร์ ที่ 24 ตุลาคม 2559
เวลาเรียน  08.30-11.30น.


หยุดชดเชยวันปิยมหารา



การบันทึกครั้งที่ 11 
วันจันทร์ ที่ 17 ตุลาคม 2559
เวลาเรียน  08.30-11.30น.


ในสัปดาห์นี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มได้ทำแบบประเมินผู้ปกครองนอกสถานที่



การบันทึกครั้งที่ 10 
วันจันทร์ ที่ 10 ตุลาคม 2559
เวลาเรียน  08.30-11.30น.
เนื้อหา
   ในสัปดาห์นี้อาจารย์ได้ให้แต่ละกลุ่มที่อยู่กลุ่มได้ช่วยกันคิดโครงการของแต่ละกลุ่มออกมาโดยอาจาย์ได้มีตัวอย่างให้นักศึกษาได้ดู






จากนั้นกลุ่มของดิฉันก็ทำโครงการโดยมีชื่อโครงการดังนี้

  ชื่อโครงการ พัฒนาอารมณ์และสังคมเด็กสำหรับผู้ปกครอง
โดยโครงการนี้จะมีหัวข้อหลักๆคือ
    ชื่อโครงการ
-หลักการและเหตุผล
-วัตถุประสงค์
-เนื้อหา
-เป้าหมาย
     เป้าหมายเชิงปริมาณ
     เป้าหมายเชิงคุณภาพ
-วัน เวลาและสถานที่จัดโครงการ
-รูปแบบการจัดโครงการ
-แผนการดำเนินงาน
     การเตรียมงาน (P)
     การดำเนินงาน (D)
     การนิเทศติดตามผลงาน (C)
     การสรุปและประเมินผล (A)
-งบประมาณ
     ค่าตอบแทน
     ค่าใช้สอย
     ค่าวัสดุ
-ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-การติดตามและประเมินโครงการ
-ผู้รับผิดชอบโครงการ





สุดท้ายอาจารย์ให้ทุกกลุ่มออกมานำเสนอ




ประเมินตนเอง
วันนี้ตั้งใจเรียนบ้างไม่ตั้งใจบ้างมีคุยับเพื่อนบ้าง

ประเมินเพื่อน
เพื่อนช่วยกันทำงานดีแต่บางคร้้งก็คุยกับเสียงดังมาก

ประเมินอาจารย์
อาจารย์ได้ปล่อยให้นักศึกษาได้มีโอกาสคิดทำโครงการเองและค่อยบอกเลลาทำผิด



การบันทึกครั้งที่ 9 
วันจันทร์ ที่ 3 ตุลาคม 2559
เวลาเรียน  08.30-11.30น.
เนื้อหา
ในวันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาแต่ล่ะกลุ่มนำเสนอวิจัยที่เกี่ยวกับผู้ปกครองมีทั้งหมด5 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยสำหรับผู้ปกครองจังหวัดสารคารม
กลุ่มที่ 2 การพัฒนาและประเมินการใช้โปรแกรมให้ความรู้ผู้ปกครอง
กลุ่มที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองกับความรู้ของผู้ปกครองในการสร้างเสริมเด็ก                   ปฐมวัย
กลุ่มที่ 4 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้ปกครองกับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของผู้                     ปกครองในการส่งเสริมการเรียนรู้รู้ของนักเรียน โรงเรียนอนุบาลกุ๊กไก่
กลุ่มที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองกับความรู้ของผู้ปกครองในการสร้างเสริมเด็ก                   ปฐมวัย






นำเสนอวิจัยเสร็จอาจารย์ก็ให้ส่งแผ่นผับ









ประเมินตนเอง
วันนี้นำเสนอวิจัยดิฉันก็เตรียมความพร้อมมาพอสมครวและได้ทำหน้าที่ก็พอใช้

ประเมินเพื่อน
เพื่อนทุกคนรับผิดชอบหน้าที่ตัวเองดีมาก

ประเมินอาจารย์ 
อาจารย์ให้นำเสนอวิจัยในวันนี้ซึ่งเมื่อแต่ล่ะกลุ่มนำเสนอเสร็จอาจารย์ก็คอยถามและค่อยเพิ่มเนื้อหาให้




วันพุธที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559



การบันทึกครั้งที่ 8 

วันจันทร์ ที่ 26 กันยายน 2559

เวลาเรียน  08.30-11.30น.


สอบกลางภาค



วันอังคารที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559


การบันทึกครั้งที่ 7 
วันจันทร์ ที่ 19 กันยายน 2559
เวลาเรียน  08.30-11.30น.
เนื้อหา
รูปแบบการให้ความรู้ผู้ปกครองในสถานศึกษา
สถานศึกษาปฐมวัยทำหน้าที่และรณรงค์เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองได้เห็นความสำคัญในการพัฒนาการและมีส่วนร่วมกับการศึกษาปฐมวัย โดยจะต้องพัฒนาทั้งความรู้และทักษะ เพื่อนำไปใช้กับเด็ก

 รูปแบบการให้ความรู้ผู้ปกครองระดับชั้นเรียน
       ข่าวสารประจำสัปดาห์
ให้ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมของเด็กที่โรงเรียนเพื่อให้ผู้ปกครองเข้าใจและร่วมกันพัฒนาเด็กไปในทิศทางเดียวกัน
-สาระการเรียนรู้
-พัฒนาการและการเรียนรู้จากกิจกรรม
-กิจกรรมครอบครัว
-เรื่องน่ารู้สำหรับผู้ปกครอง
-ข้อเสนอแนะ
       จดหมายข่าวและกิจกรรม
เป็นการนำเสนอความรู้ให้แก่ผู้ปกครองในขั้นเรียนให้รับรู้ถึงข่าวสารและกิจกรรมที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ในการพัฒนาเด็ก
-ข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับเด็ก
-กิจกรรมพัฒนาการเด็ก ข้อมูลผู้ปกครอง
       ป้ายนิเทศให้ความรู้ผู้ปกครอง
ส่วนใหญ่อยู่ในห้องเรียน อยู่หน้าชั้นเรียนของทุกห้อง
-ข้อมูลจากสิ่งต่างๆ
-ภาพถ่ายกิจกรรม
-ผลงาน  เกร็ดความรู้
        การสนทนา
เป็นรูปแบบการให้ความรู้ที่เข้าถึงและตรงมากที่สุดเป็นการสร้างสัมพันธ์ที่ดี

 รูปแบบการให้ความรู้ผู้ปกครองระดับสถานศึกษา

  • ห้องสมุดผู้ปกครอง = เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารต่างๆ ความเคลื่อนไหวและความทันสมัย
  • ป้ายนิเทศ = ไม่เน้นห้องใดห้องหนึ่ง มีข่าวสาร การประชาสัมพันธ์ทั่วๆไป
  • นิทรรศการ = เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เพื่อประชาสัมพันธ์ บันเทิง ความรู้
  • มุมผู้ปกครอง = พบปะสร้างสรรค์ ให้ความรู้ไม่นาน มีการแสดงผลงานของลูกเอาไว้
  • การประชุม = ใช้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารหรือให้ความรู้ผู้ปกครอง
  • จุลสาร = สิ่งพิมพ์ มี4ส่วน ส่วนของบรรณาธิการ เรื่องราวของเด็กๆ บทความรู้ และเบ็ดเตล็ด
  • คู่มือผู้ปกครอง = เอกสารให้ความรู้ผู้ปกครอง กฏ ระเบียบ ปรัชญา
  • ระบบอินเทอร์เน็ต = การสื่อสารใช้เพื่อการเร่ียนการสอน





คำถามท้ายบท

1.รูปแบบการให้ความรู้ผู้ปกครองระดับชั้นเรียนครูประจำชั้นควรพิจารณาในการเลือกใช้รูปแบบใดบ้างจงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง
ตอบ 1.ข่าวสารประจำสัปดาห์ เช่น แผ่นพับ ใบความรู้ ต่างๆ
             2.จดหมายข่าวและกิจกรรม เช่น ข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับเด็ก นิทาน  ศิลปะ
             3.ป้ายนิเทศให้ความรู้ผู้ปกครอง  ส่วนใหญ่อยู่ในห้องเรียน คือ ผลงานของเด็กทุกคนในห้องเรียน
             4.การสนทนา เป็นการให้ความรู้ผู้ปกครองที่ตรงและเข้าถึงที่สุด คือ พูดคุย แลกเปลียนความคิดเห็น

2.รูปแบบการให้ความรู้ผู้ปกครองระดับสถานศึกษามีรูปแบบใดบ้าง จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง
ตอบ 1.ห้องสมุดผู้ปกครอง เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารที่ทันต่อเหตุการณ์
              2.ป้ายนิเทศ ไม่เจาะห้องใดห้องหนึ่ง คือ ข่าวสาร การประชาสัมพันธ์
              3.นิทรรศการ เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้และเพื่อความบันเทิง
              4.มุมผู้ปกครอง จะไม่มีในห้องแต่จะอยู่ส่วนใดส่วนหนึ่งของโรงเรียน เพื่อให้ผู้ปกครองที่คอยรับ-ส่ง ลูกได้ทำกิจกรรมกันตามความเหมาะสม
             5.การประชุม  เพื่อ แถลงนโยบายการจัดการศึกษา ประสานงานทำความเข้าใจ แลกเปลียนทัศนคติ
            6.จุลสาร เป็นสิ่งพิมพ์ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในทุกๆด้าน
           7.คู่มือผู้ปกครอง จัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม ให้ผู้ปกครองได้รู้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานศึกษา
           8.ระบบอินเทอร์เน็ต เว็บโรงเรียน ใช้เพื่อการเรียนการสอน สื่อสาร

3.นักศึกษามีวิธีการหรือแนวทางแก้ปัญหาผู้ปกครองที่ไม่ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครอง จงอธิบาย
ตอบ คือจะต้องมีการสนทนาพูดคุยกับผู้ปกครองอย่างเป็นทางการเพื่อบอกให้ผู้ปกครองได้ทราบถึงสิ่งต่างๆ ทั้งเด็ก การให้ความรู้ และเกี่ยวกับโรงเรียนนั้น อธิบายให้ผู้ปกครองค่อยๆยอมรับและให้ความร่วมมือ

4.การจัดกิจกรรมการให้ความรู้ผู้ปกครองมีความสำคัญและจำเป็นอย่างไรจงอธิบาย
ตอบ สำคัญและจำเป็นมาก เพราะว่า เพื่อให้ความรู้ผู้ปกครองในเรื่องต่างๆ บางครั้งผู้ปกครองไม่อาจเข้าใจได้เราก็สามารถให้ความรู้ผู้ปกครองนำกลับไปใช้กับเด็กและสามารถพัฒนาได้ และทำให้ผู้ปกครอง ได้ข้อมูลการดูแลเด็ก ผลการเรียนของเด็ก พฤติกรรมของเด็ก และเมื่อรู้แล้วผู้ปกครองก็จะนำไปพัฒนาได้


5.รูปแบบการให้ความรู้ผู้ปกครองที่มีประสิทธิภาพ มีลักษณะของรูปแบบอย่างไร จงอธิบายพร้อมแสดงความคิดเห็น
ตอบ การที่ผู้ปกครองนั้นให้ความร่วมมือ คือรูปแบบที่มีประสิทธิภาพที่สุด เพราะถ้าผู้ปกครองไม่สนใจก็เท่ากับว่าสิ่งที่ครูเตรียมมาก็ศูนย์เปล่า ไร้ประโยชน์ เราะฉะนั้น การให้ความร่วมมือของผู้ปกครองคือสิ่งที่ดีที่สุด


ประเมินตนเอง

ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้ทำแผ่นผับ

ประเมินเพื่อน

เพื่อนๆบ้างคนก็ตั้งใจเรียนบางคนก็คุยกัน

ประเมินอาจารย์ 


อาจารย์สอนเข้าใจและมีการอธิบายและให้ทำจริง



วันจันทร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559



การบันทึกครั้งที่ 6 
วันจันทร์ ที่ 12 กันยายน 2559
เวลาเรียน  08.30-11.30น.

ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์ติดธุระสำคัญ

การบันทึกครั้งที่ 5 
วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2559
เวลาเรียน  08.30-11.30น.
เนื้อหา
โครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองในและต่างประเทศ

  1.       โครงการแม่สอนลูก
  2.       โครงการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในเด็กไทย
  3.       โครงการหนังสือเล่มแรก
  4.       โครงการพัฒนาเด็กโดยครอบครัว
  5.       โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างความเข็มแข็งของครอบครัว "บ้านล้อมรัก"
  6.       โครงการพัฒนาเด็กโดยครอบครัว
โครงการ บุ๊คสตาร์ทในประเทศอังกฤษ 

    โครงการ บุ๊คสตาร์ท หรือเรียกว่า “หนังสือเล่มแรก” ก่อตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศอังกฤษ โดย นางเวนดี้ คูลลิ่ง ภายใต้ บุ๊คทรัสต์ 







คำถามท้ายบท
1. ในการดำเนินโครงการให้ความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองทั้งในและต่างประเทศมีเป้าหมายร่วมกันอย่างไร
ตอบ เป้าหมายร่วมกันคือฝึกให้เด็กโตขึ้นเป็นเด็กรักการอ่าน ฝึกทักษะด้านต่างๆ พัฒนาการของลูกการเตรียมตัวเป็นพ่อแม่ที่ดีและการรักษาในด้านต่างๆ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวอีกด้วย

2. นักศึกษามีแนวคิดอย่างไรที่จะสนับสนุนให้โครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองประสบผลสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม จงอธิบาย
ตอบ ต้องปรึกษาหารือกับหน่วยงานต่างๆให้รับรู้และร่วมมือกันประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วประเทศได้รับรู้ข่าวสารและทำตามอาจจะต้องให้ทุกๆฝ่ายร่วมมือกันทำถึงจะสำเร็จได้

3. ในฐานะที่นักศึกษาจะเป็นผู้ที่ให้ความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยในอนาคต จงยกตัวอย่างขององค์ความรู้หรือเรื่องที่ต้องการจะถ่ายทอดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครองเพื่อใช้ในการเลี้ยงดูเด็ก มา 5 เรื่องพร้อมอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ
ตอบ 

4. การให้ความรู้ผู้ปกครองสามารถส่งผลต่อพฤติกรรมเด็กหรือไม่อย่างไร จงอธิบาย
ตอบ 

5. นักศึกษาจะมีวิธีในการติดตามผลการให้ความรู้ผู้ปกครองอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ เมื่อเราให้ความรู้ผู้ปกครองแล้ว การติดตามผลก็สำคัญ 
          ติดต่อผู้ปกครองอีกครั้งเพื่อดูผล




ประเมินตนเอง
วันนี้ตั้งใจเรียนและดูวิดิโอมากทีอาจารย์นำมาให้ดูแต่ก็มีบา้งที่คุยกับเพื่อน

ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจเรียนและดูวิดิโอเมื่ออาจารย์ถามก็สามารถตอบคำถามได้อย่างรวดเร็ว

ประเมินอาจารย์ 
วันี้อาจารย์วันนี้สอนเนื้อหาเยอะแต่ก็ผ่อนตคลายด้วยการนำเอาวิดิโอมาเป็นสือการสอน





วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2559



การบันทึกครั้งที่ 4 
วันจันทร์ ที่ 29 สิงหาคม 2559
เวลาเรียน  08.30-11.30น.
เนื้อหา
การสื่อสารกับผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
   ความหมายของการสื่อสาร
    การสื่อสาร  (Communication) คือ กระบวน การส่งข่าวสาร ข้อมูล จาก   ผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อชักจูงให้ผู้รับข่าวสารมีปฏิกิริยาตอบสนองกลับมา
     การติดต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ความคิด ทัศนคติ ทักษะ และประสบการณ์ระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสารให้มีความเข้าใจ ที่ตรงกัน
ความสำคัญของการสื่อสาร
 1.ทำให้ได้รับรู้และเข้าใจถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคม

   2.ทำให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันทั้ง 2 ฝ่าย

   3.ทำให้สร้างมิตรภาพที่อบอุ่น
    4.ทำให้เกิดภาพแห่งความพึงพอใจ
  5.ช่วยในการพัฒนาอัตมโนทัศน์ เป็นการสร้างความรู้สึกที่ดีต่อตนเองก่อให้เกิดความพอใจ
 รูปแบบของการสื่อสาร
รูปแบบการสื่อสารของอริสโตเติล 
รูปแบบการสื่อสารของลาล์สเวล 
รูปแบบการสื่อสารของแชนนอนและวีเวอร์ 
รูปแบบการสื่อสารของออสกูดและชแรมม์

รูปแบบการสื่อสารของเบอร์โล
สื่อ คือ      ใช้วิธีพูด-เขียน หรือการนำเสนอในรูปแบบต่างๆ เช่น ใช้รูปภาพ รวมทั้งเทคโนโลยีต่างๆ โดยวิธีการติดต่อนั้นต้องใช้ตัวกลางต่าง


สาร คือ   เรื่องราวที่รับรู้ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็น  ข้อเท็จจริง  ข้อแนะนำ  การล้อเลียน  ความปรารถนาดี  ความห่วงใย
วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
1. เพื่อแจ้งให้ทราบ หมายถึง การสื่อสารที่ผู้ส่งสารจะแจ้ง หรือบอกกล่าวข่าวสาร 
2. เพื่อสอนหรือให้การศึกษา หมายถึง การสื่อสารที่มุ่งจะให้ผู้รับมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ทางด้านองค์ความรู้ ความคิด สติปัญญา 
3. เพื่อสร้างความพอใจหรือให้ความบันเทิง หมายถึง การสื่อสารที่มุ่งให้เกิดผลทางจิตใจหรือ
อารมณ์ ความรู้สึกแก่ผู้รับสาร 
4. เพื่อเสนอหรือชักจูงใจ มุ่งเน้นให้ผู้รับสารมีพฤติกรรมคล้อยตาม หรือยอมรับปฏิบัติตาม
ประเภทของการสื่อสาร
        1. จำแนกตามกระบวนการหรือการไหลของข่าวสาร
        2. จำแนกตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก
3. จำแนกตามจำนวนผู้สื่อสาร







คำถามท้ายบท
1.จงอธิบายความหมายและความสำคัญของการสื่อสารมาโดยสังเขป

ตอบ ความหมาย คือ การสื่อสาร = การส่งข่าวสารข้อมูลจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร

การติดต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูล = ข่าวสารประสบการณ์ระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร

 ความสำคัญ คือ ทำให้ได้รับรู้และเข้าใจถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมทำให้เกิดความ

เข้าใจที่ตรงกัน 2 ฝ่าย ส
2.การสื่อสารมีความสำคัญกับผู้ปกครองอย่างไร
ตอบ ผู้ปกครองสามารถที่จะสื่อสารกับครูและลูกของตนได้อย่างเหมาะสม สื่อสารก็เป็นการ
เรียนรู้อย่างหนึ่งของผู้ปกครองที่ทำให้สามารถรับรู้ได้
3.รูปแบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในการให้ความรู้ผู้ปกครอง ควรเป็นรูปแบบใด 
จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง

ตอบ รูปแบบการสื่อสารของเบอร์โล เพราะเป็นรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับปฐมวัย 

  ตัวอย่าง คือ เด็กบอกได้ว่าหิว
4.ธรรมชาติและการเรียนรู้ของผู้ปกครองควรมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ผู้ปกครองสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง เรียนรู้ได้ดีสามารถเข้าใจซึ่งกันและกันสนใจในสิ่ง

ที่ผู้ปกครองสามารถเรียนรู้เป็นการสร้างประสบการณ์ใหม่
5.ปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนพฤติกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้ปกครอง เพื่อให้ผู้ปกครองมี
ความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาของเด็ก ประกอบด้วยปัจจัยด้านใดบ้าง

ตอบ  เมื่อเราให้ความรู้ผู้ปกครองแล้ว การติดตามผลก็สำคัญ 

1.ความพร้อม

2.ความต้องการ

3.อารมณ์และการปรับตัว
4.การจูงใจ
5.การเสริมแรง
6.ทัศนคติและความสนใจ
7.ความถนัด





ประเมินตนเอง
วันนี้ได้รวมกิจกรรมกับเพื่อนๆ
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆช่วยกันพาทำกิจกรรมทุกคน
ประเมินอาจารย์
อาจารย์ชอบหาการสอนแบบใหม่ๆเสมอ